วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2563

Introduce my self

Introduce my self

🔸🔷  Hello! :) 🔷🔸 ↞↞↞↞↞↞☸↠↠↠↠↠↠ My name is Kanokwan Kongkapun. You can call me "OIL". My student ID is 5881114006. I'm study in Faculty of English Education. I'm study at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University.  You can add me on my Facebook.Please scan this OR code.  🔸🔷🔸🔷🔸🔷🔸🔷🔷🔸🔷🔸🔷🔸🔷🔸🔷🔸 ...

วันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561

ขั้นตอนในการออกแบบ CAI

ขั้นตอนในการออกแบบ CAI

ขั้นตอนในการออกแบบ CAI ขั้นตอนการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมี 7 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1: ขั้นตอนการเตรียม (Preparation)   ขั้นตอนนี้เป็นการเตรียมพร้อมก่อนที่จะทำการออกแบบบทเรียน ขั้นตอนนี้ผู้ออกแบบจะต้องเตรียมพร้อมในเรื่องของความชัดเจนในการกำหนดเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ การรวบรวมข้อมูล การเรียนรู้เนื้อหา เพื่อให้เกิดการสร้างหรือระดมความคิดในที่สุด ขั้นตอนการเตรียมนี้ถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากตอนหนึ่งที่ผู้ออกแบบต้องใช้เวลาให้มาก เพราะการเตรียมพร้อมในส่วนนี้ จะทำให้ตอนต่อไปในการออกแบบเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนที่ 2: ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction)    เป็นขั้นตอนที่ครอบคลุมถึงการทอนความคิด การวิเคราะห์งาน แนวคิดการออกแบบขั้นแรก การประเมินและแก้ไขการออกแบบ ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนนี้ เป็นขั้นตอนที่กำหนดว่า บทเรียนจะออกมาในลักษณะใด ขั้นตอนที่ 3: ขั้นตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson)     ผังงานคือ ชุดของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ซึ่งอธิบายขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม การเขียนผังงานเป็นสิ่งสำคัญ ทั้งนี้ก็เพราะคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ดี จะต้องมีปฏิสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ และสามารถถูกถ่ายทอดออกมาได้อย่างชัดเจนที่สุดในรูปของสัญลักษณ์ การเขียนผังงานจะนำเสนอลำดับขั้นตอน โครงสร้างของบทเรียน ผังงานทำหน้าที่เสนอข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม เช่น อะไรจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนตอบคำถามผิด เป็นต้น ขั้นตอนที่ 4: ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ด (Create Storyboard)  การสร้างสตอรี่บอร์ด เป็นขั้นตอนของการเตรียมการนำเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้งสื่อในรูปแบบมัลติมีเดียต่าง ๆ ลงบนกระดาษ เพื่อให้การนำเสนอเป็นไปอย่างเหมาะสมบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ สตอรี่บอร์ดนำเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนำเสนอขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ด รวมไปถึงการเขียน สคริปต์...

การออกแบบหน้าจอบทเรียน

การออกแบบหน้าจอบทเรียน

การออกแบบหน้าจอบทเรียน           เนื่องจากการจัดทำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการนำเสนอผ่านคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการออกแบบหน้าจอจึงเป็นประเด็นสำคัญด้วย เพื่อดึงดูดความสนใจและช่วยให้การจัดรูปแบบนำเสนอที่สมดุลกันขององค์ประกอบต่าง ๆ บนจอภาพ เพราะถ้าเนื้อหาถึงจะดีเพียงใดก็ตาม หากหน้าจอไม่ดี หรือไม่ดึงดูดก็ส่งผลต่อการใช้โปรแกรมได้ คุณค่าของสื่อก็จะลดลงด้วย โดยองค์ประกอบเกี่ยวกับการออกแบบหน้าจอ ได้แก่ ความละเอียดของจอภาพ ปัจจุบันความละเอียดของจอภาพที่นิยมใช้ จะมีสองค่า คือ 640 x 480 pixel และ 800 x 600 pixel ดังนั้นควรพิจารณาถึงความละเอียดที่จะดีที่สุด เพราะหากออกแบบหน้าจอ หรับจอภาพ 800 x 600 pixel แต่นำมาใช้กับจอ 640 x 480 pixelจะทำให้เนื้อหาตกขอบจอได้ แต่ถ้าหากจัดทำด้วยค่า 640 x 480 pixel หากนำเสนอผ่านจอ 800 x 600 pixel จะปรากฏพื้นที่ว่างรอบเฟรมเนื้อหาที่นำเสนอ การใช้สี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนั่งดูและศึกษาบทเรียนได้ดี ควรใช้สีในโทนเย็น หรืออาจจะพิจารณาองค์ประกอบร่วมกัน คือ สีของพื้น (Background) ควรเป็นสีขาว, สีเทาอ่อน ในขณะที่สีข้อความควรเป็นสีในโทนเย็น เช่น สีน้ำเงินเข้ม, สีเขียวเข้ม หรือสีที่ตัดกับสีพื้น จะมีการใช้สีโทนร้อนกับข้อความที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษเท่านั้น และไม่ควรใช้สีเกิน 4 สีกับเนื้อหาข้อความ ไม่ควรสลับสีไปมาในแต่ละเฟรม รูปแบบของการจัดหน้าจอ ในรูปแบบของการจัดหน้าจอที่สมดุลกันระหว่างเมนู, รายการเลือก, เนื้อหา,ภาพประกอบ จะช่วยให้ผู้ใช้สนใจเนื้อหาได้มาก โดยมากมักจะแบ่งจอภาพเป็นส่วน ๆ...

Adobe Captivate 8

Adobe Captivate 8

Adobe Captivate 8 การติดตั้งโปรแกรม Adobe Captivate 8 ทำหน้า Login ก่อนเข้าสู่บทเรียน Adobe Captivate 8 Adobe Captivate 8 การทำปุ่มเชื่อมโยง สร้างปุ่ม Exit และปุ่มปิดเสียง-เปิดเสียง Adobe Captivate 8 การสร้าง Quiz แบบต่างๆ Multiple Choice Adobe Captivate 8 การรวบรวมชิ้นงานต่างๆ ให้เป็นชิ้นงานเดียว Adobe Captivate 8 การสร้างปุ่ม pop up Adobe Captivate 8 การสร้างเกมส์ โดย ใช้ Adobe Captivate 8 การบันทึกAdobe Captivate 8 ...

Blogger

Blogger

Blogger Blogger Part 1 เริ่มต้น Blogger Part 2 การใส่ Template Blogger Part 3 เพิ่ม Facebook Page Plugin Blogger Part 4 การใช้งานเทมเพลตของบล็อกเกอร์ Blogger Part 5 การจัดการบทความ เพิ่มลิงค์เพิ่มปุ่ม อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Blogger Part 6 วิธีใส่ภาพ favicon เปลี่ยนภาพ title ให้กับ Blogger Blogger Part 7 วิธีจัดเรียงลำดับบทความมาก่อนมาหลัง อยู่ด้านล่าง/ด้านบน ...

วันจันทร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2561

Using Corpus Analysis Software to Analyse Specialised Texts

Using Corpus Analysis Software to Analyse Specialised Texts

Using Corpus Analysis Software to Analyse Specialised Texts                         What is a corpus? In corpus linguistics, a corpus (sometimes used in the plural form “corpora”) can be generally defined as… ‘a collection of naturally-occurring texts in a computer-readable format which can be retrieved and analyzed using corpus analysis software’ (Kennedy, 1998;...

Using Weblogs in Foreign Language Classrooms: Possibilities and Challenges

Using Weblogs in Foreign Language Classrooms: Possibilities and Challenges

Using Weblogs in Foreign Language Classrooms: Possibilities and Challenges Theoretical Justification of Using Web 2.0           Web-based foreign language learning started back in early 90s, but it had limited benefits since it was mainly based on Web 1.0 which is characterized as non-participatory, static, read-only entity. In contrast, Web 2.0 technologies provide environments where users can communicate and collaborate in...

Page 1 of 212Next »